วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2554
สรุปบทเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ครั้งที่ 5 วันที 17 กรกฎาคม 2554
Linked List (ต่อ)
Stack
4. กระบวนงาน Search list
หน้าที่ ค้นหาข้อมูลในลิสต์ที่ต้องการข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ค่าจริงถ้าพบข้อมูล ค่าเท็จถ้าไม่พบข้อมูล
5. กระบวนการทำงาน Traverse
หน้าที่ ท่องไปในลิสต์เพื่อเข้าถึงและประมวลผลข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ขึ้นกับการประมวลผล เช่น เปลี่ยนแปลงค่าใน node , รวมฟิลด์ในลิสต์ , คำนวณค่าเฉลี่ยของฟิลด์ เป็นต้น
6. กระบวนการทำงาน Retrieve Node
หน้าที่ หาตำแหน่งข้อมูลจากลิสต์ ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ ตำแหน่งข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
7. ฟังก์ชั่น EmptyList
หน้าที่ ทดสอบว่าลิสต์ว่างข้อมูลนำเข้า ลิสต์
ผลลัพธ์ เป็นจริง ถ้าลิสต์ว่าง เป็นเท็จ ถ้าลิสต์ไม่ว่าง
8. ฟังก์ชั่น FullList
หน้าที่ ทดสอบว่าลิสต์เต็มหรือไม่ ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ เป็นจริง ถ้าหน่วยความจำเต็ม เป็นเท็จ ถ้าสามารถมีโหนดอื่น
9. ฟังก์ชั่น list count
หน้าที่ นับจำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์ ข้อมูลนำเข้าลิสต์
ผลลัพธ์ จำนวนข้อมูลที่อยู่ในลิสต์
10. กระบวนงาน destroy list
หน้าที่ ทำลายลิสต์ ข้อมูลนำเข้า ลิสต์
ผลลัพธ์ ไม่มีลิสต์
การสร้าง Linked List
คำถาม อธิบายการเก็บข้อมูลและความสำคัญของโครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์
Stack
สรุปบทเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ครั้งที่ 4 วันที 5 กรกฎาคม 2554
Set and String (ต่อ)
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน ในภาษาซี จะไม่มีประเภทข้อมูลแบบ เซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาสคาล แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้
ตัวดำเนินการของเซ็ต (Set operators)
ประกอบด้วย
- set intersection
- set union
- set difference เป็นต้น
สตริง (String) หรือ สตริงของอักขระ (Character String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือ เครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
สตริงกับอะเรย์
สตริง คือ อะเรย์ของอักขระ เช่น char a[6]
อาจจะเป็นอะเรย์ขนาด 6 ช่องอักขระ หรือ เป็นสตริงขนาด 5 อักขระก็ได้ โดยจุดสิ้นสุดของ string จะจบด้วย \0 หรือ null character เช่น
char a[ ]={‘H’, ‘E’, ‘L’, ‘L’, ‘O’, ‘\0’};
char a[ ]=“HELLO”;
ความยาวของสตริง จะถูกกำหนดโดย ขนาดของสตริง การกำหนดขนาดของสตริง นั้นต้องจองเนื้อที่ในหน่วยความจำให้กับ \0 ด้วย
เช่น “This is String !” จะเป็นข้อมูลแบบสตริงยาว 16 อักขระ
การกำหนดสตริงทำได้หลายแบบ คือ
1. กำหนดเป็นสตริงที่มีค่าคงตัว (String Constants)
2. กำหนดโดยใช้ตัวแปรอะเรย์หรือพอยเตอร์
การกำหนดค่าคงตัวสตริง
สามารถกำหนดได้ทั้งนอกและในฟังก์ชัน เมื่อกำหนดไว้นอก ฟังก์ชัน ชื่อค่าคงตัวจะเป็นพอยเตอร์ชี้ไปยังหน่วยความจำที่เก็บสตริง นั้น เมื่อกำหนดไว้ในฟังก์ชัน จะเป็นพอยเตอร์ไปยังหน่วยความจำที่เก็บตัวมันเอง
การกำหนดตัวแปรสตริง
ในการกำหนดตัวแปรของสตริง อาศัยหลักการของอะเรย์ เพราะ สตริงก็คืออะเรย์ของอักขระที่ปิดท้าย
ด้วย null character (\0) และมีฟังก์ชันพิเศษสำหรับทำงานกับสตริงโดยเฉพาะ เช่น
ต้องการสตริงสำหรับเก็บชื่อบุคคลยาวไม่เกิน 30 อักขระ ต้องกำหนดเป็นอะเรย์ขนาด 31 ช่อง เพื่อเก็บ null character อีก 1 ช่อง
อะเรย์ของสตริง
ถ้าหากมีสตริงจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอะเรย์ของสตริง เพื่อที่จะเขียนโปรแกรมได้สะดวก การสร้างอะเรย์ของสตริง สามารถสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่กำหนดเป็นตัวแปร
อะเรย์ของสตริงที่ยาวไม่เท่ากัน
ทำได้เฉพาะเมื่อมีการกำหนดค่าเริ่มต้นเท่านั้น
เช่น
#define N 4
main ( ) {
char *contry[N]={“Thailand”, “United State of Ameica”,
“England”, “Indonesia”};
int a;
for (a=0; a<N;a++)
puts(contry[a]);
}
ผลการรันโปรแกรม
Thailand
United State of America
England
Indonesia
**ฟังก์ชัน puts ( ) ใช้ในการพิมพ์สตริงออกทาง จอภาพ โดยการผ่านค่าแอดเดรสของสตริงไปให้เท่านั้น
อะเรย์ของสตริงที่ยาวเท่ากัน
อะเรย์ในลักษณะนี้จะถือว่าเป็นอะเรย์ที่แท้จริง และสามารถกำหนดได้ทั้งเมื่อมีการให้ค่าเริ่มต้น และเมื่อกำหนดเป็นตัวแปร โดยดำเนินการตามแบบการกำหนดอะเรย์ 2 มิติ การกำหนดตัวแปรในลักษณะนี้ จะแตกต่างจากการกำหนดตัวแปรแบบความยาวไม่เท่ากัน คือ ในแบบความยาวไม่เท่ากัน ท้ายของสตริงจะเครื่องจะเติม null character ให้เพียงตัวเดียว แต่ในแบบความยาวเท่ากัน จะเติม null character ให้
จนครบทุกช่อง
การดำเนินการเกี่ยวกับสตริง
ในการดำเนินการเกี่ยวกับสตริง จะมีฟังก์ชันที่อยู่ในแฟ้ม ข้อมูล stdio.h เก็บอยู่ใน C Library อยู่แล้ว
สามารถนำมาใช้ได้ โดยการใช้คำสั่ง #include ในการเรียกใช้ เช่น
- ฟังก์ชัน strlen(str) ใช้หาความยาวของสตริง
- ฟังก์ชัน strcpy (str1,str2) ใช้คัดลอกข้อมูลจาก string หนึ่งไปยังอีก string หนึ่ง
- ฟังก์ชัน strcat(str1,str2) ใช้เชื่อมต่อข้อความ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
- ฟังก์ชัน strcmp(str1,str2 ) ใช้เปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ ถือหลักการ
เปรียบเทียบแบบพจนานุกรม เช่น abcda จะมีค่าน้อยกว่า abcde และ abcdf จะมีค่ามากกว่า abcde ค่าที่เท่ากัน คือ ค่าที่เหมือนกัน เช่น abcd กับ abcd สำหรับอักษรตัวเล็กตัวใหญ่ จะถือว่าอักษรตัวใหญ่มีค่าน้อยกว่าอักษรตัวเล็ก ตามลำดับรหัส ASCII
คำถาม อธิบายหลักการที่ใช้ในการกำหนดตัวแปรของสตริง
Linked List
ลิงค์ลิสต์ (Linked List) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องของอิลิเมนต์ต่าง ๆ โดยมี "พอยเตอร์" เป็นตัวเชื่อมต่อ
แต่ละอิลิเมนท์ เรียกว่าโนด (Node) ซึ่งในแต่ละโนดจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 คือ Data จะเก็บข้อมูลของอิลิเมนท์
ส่วนที่ 2 คือ Link Field จะทำหน้าที่เก็บตำแหน่งของโนดต่อไปในลิสต์
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ข้อมูลแต่ละตัวไม่มีความสัมพันธ์กัน ในภาษาซี จะไม่มีประเภทข้อมูลแบบ เซ็ตนี้เหมือนกับในภาษาปาสคาล แต่สามารถใช้หลักการของการดำเนินงานแบบเซ็ตมาใช้ได้
ตัวดำเนินการของเซ็ต (Set operators)
ประกอบด้วย
- set intersection
- set union
- set difference เป็นต้น
สตริง (String) หรือ สตริงของอักขระ (Character String) เป็นข้อมูลที่ประกอบไปด้วย ตัวอักษร ตัวเลขหรือ เครื่องหมายเรียงติดต่อกันไป รวมทั้งช่องว่าง
สตริงกับอะเรย์
สตริง คือ อะเรย์ของอักขระ เช่น char a[6]
อาจจะเป็นอะเรย์ขนาด 6 ช่องอักขระ หรือ เป็นสตริงขนาด 5 อักขระก็ได้ โดยจุดสิ้นสุดของ string จะจบด้วย \0 หรือ null character เช่น
char a[ ]={‘H’, ‘E’, ‘L’, ‘L’, ‘O’, ‘\0’};
char a[ ]=“HELLO”;
ความยาวของสตริง จะถูกกำหนดโดย ขนาดของสตริง การกำหนดขนาดของสตริง นั้นต้องจองเนื้อที่ในหน่วยความจำให้กับ \0 ด้วย
เช่น “This is String !” จะเป็นข้อมูลแบบสตริงยาว 16 อักขระ
การกำหนดสตริงทำได้หลายแบบ คือ
1. กำหนดเป็นสตริงที่มีค่าคงตัว (String Constants)
2. กำหนดโดยใช้ตัวแปรอะเรย์หรือพอยเตอร์
การกำหนดค่าคงตัวสตริง
สามารถกำหนดได้ทั้งนอกและในฟังก์ชัน เมื่อกำหนดไว้นอก ฟังก์ชัน ชื่อค่าคงตัวจะเป็นพอยเตอร์ชี้ไปยังหน่วยความจำที่เก็บสตริง นั้น เมื่อกำหนดไว้ในฟังก์ชัน จะเป็นพอยเตอร์ไปยังหน่วยความจำที่เก็บตัวมันเอง
การกำหนดตัวแปรสตริง
ในการกำหนดตัวแปรของสตริง อาศัยหลักการของอะเรย์ เพราะ สตริงก็คืออะเรย์ของอักขระที่ปิดท้าย
ด้วย null character (\0) และมีฟังก์ชันพิเศษสำหรับทำงานกับสตริงโดยเฉพาะ เช่น
ต้องการสตริงสำหรับเก็บชื่อบุคคลยาวไม่เกิน 30 อักขระ ต้องกำหนดเป็นอะเรย์ขนาด 31 ช่อง เพื่อเก็บ null character อีก 1 ช่อง
อะเรย์ของสตริง
ถ้าหากมีสตริงจำนวนมาก ก็ควรจะทำให้เป็นอะเรย์ของสตริง เพื่อที่จะเขียนโปรแกรมได้สะดวก การสร้างอะเรย์ของสตริง สามารถสร้างได้ทั้งแบบที่ให้ค่าเริ่มต้นและแบบที่กำหนดเป็นตัวแปร
อะเรย์ของสตริงที่ยาวไม่เท่ากัน
ทำได้เฉพาะเมื่อมีการกำหนดค่าเริ่มต้นเท่านั้น
เช่น
#define N 4
main ( ) {
char *contry[N]={“Thailand”, “United State of Ameica”,
“England”, “Indonesia”};
int a;
for (a=0; a<N;a++)
puts(contry[a]);
}
ผลการรันโปรแกรม
Thailand
United State of America
England
Indonesia
**ฟังก์ชัน puts ( ) ใช้ในการพิมพ์สตริงออกทาง จอภาพ โดยการผ่านค่าแอดเดรสของสตริงไปให้เท่านั้น
อะเรย์ของสตริงที่ยาวเท่ากัน
อะเรย์ในลักษณะนี้จะถือว่าเป็นอะเรย์ที่แท้จริง และสามารถกำหนดได้ทั้งเมื่อมีการให้ค่าเริ่มต้น และเมื่อกำหนดเป็นตัวแปร โดยดำเนินการตามแบบการกำหนดอะเรย์ 2 มิติ การกำหนดตัวแปรในลักษณะนี้ จะแตกต่างจากการกำหนดตัวแปรแบบความยาวไม่เท่ากัน คือ ในแบบความยาวไม่เท่ากัน ท้ายของสตริงจะเครื่องจะเติม null character ให้เพียงตัวเดียว แต่ในแบบความยาวเท่ากัน จะเติม null character ให้
จนครบทุกช่อง
การดำเนินการเกี่ยวกับสตริง
ในการดำเนินการเกี่ยวกับสตริง จะมีฟังก์ชันที่อยู่ในแฟ้ม ข้อมูล stdio.h เก็บอยู่ใน C Library อยู่แล้ว
สามารถนำมาใช้ได้ โดยการใช้คำสั่ง #include ในการเรียกใช้ เช่น
- ฟังก์ชัน strlen(str) ใช้หาความยาวของสตริง
- ฟังก์ชัน strcpy (str1,str2) ใช้คัดลอกข้อมูลจาก string หนึ่งไปยังอีก string หนึ่ง
- ฟังก์ชัน strcat(str1,str2) ใช้เชื่อมต่อข้อความ 2 ข้อความเข้าด้วยกัน
- ฟังก์ชัน strcmp(str1,str2 ) ใช้เปรียบเทียบข้อความ 2 ข้อความว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่ ถือหลักการ
เปรียบเทียบแบบพจนานุกรม เช่น abcda จะมีค่าน้อยกว่า abcde และ abcdf จะมีค่ามากกว่า abcde ค่าที่เท่ากัน คือ ค่าที่เหมือนกัน เช่น abcd กับ abcd สำหรับอักษรตัวเล็กตัวใหญ่ จะถือว่าอักษรตัวใหญ่มีค่าน้อยกว่าอักษรตัวเล็ก ตามลำดับรหัส ASCII
คำถาม อธิบายหลักการที่ใช้ในการกำหนดตัวแปรของสตริง
Linked List
ลิงค์ลิสต์ (Linked List) เป็นวิธีการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องของอิลิเมนต์ต่าง ๆ โดยมี "พอยเตอร์" เป็นตัวเชื่อมต่อ
แต่ละอิลิเมนท์ เรียกว่าโนด (Node) ซึ่งในแต่ละโนดจะประกอบไปด้วย 2 ส่วน
ส่วนที่ 1 คือ Data จะเก็บข้อมูลของอิลิเมนท์
ส่วนที่ 2 คือ Link Field จะทำหน้าที่เก็บตำแหน่งของโนดต่อไปในลิสต์
ในลิงค์ลิสต์จะมีตัวแปรสำหรับชี้ตำแหน่งลิสต์ (List pointer variable) ซึ่งเป็นที่เก็บตำแหน่งเริ่มต้นของลิสต์ ซึ่งก็ คือ โหนดแรกของลิสต์นั่นเอง ถ้าลิสต์ไม่มีข้อมูล ข้อมูลในโหนดแรกของลิสต์จะเป็น Null
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
1. Head Structure จะประกอบไปด้วย 3 ส่วน ได้แก่ จำนวนโหนดในลิสต์ (Count) พอยเตอร์ที่ชี้ไปยัง
โหนดที่เข้าถึง (Pos) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังโหนดข้อมูลแรกของลิสต์ (Head)
2. Data Node Structure จะประกอบไปด้วยข้อมูล(Data) และพอยเตอร์ที่ชี้ไปยังข้อมูลตัวถัดไป
กระบวนงานและฟังก์ชั่นที่ใช้ดำเนินงานพื้นฐาน
1. กระบวนงาน Create List
หน้าที่ สร้างลิสต์ว่าง
ผลลัพธ์ ลิสต์ว่าง
2. กระบวนงาน Insert Node
หน้าที่เพิ่มข้อมูลลงไปในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการข้อมูลนำเข้า ลิสต์ ข้อมูล และตำแหน่ง
ผลลัพธ์ ลิสต์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
3. กระบวนงาน Delete Node
หน้าที่ ลบสมาชิกในลิสต์บริเวณตำแหน่งที่ต้องการข้อมูลนำเข้า ข้อมูลและตำแหน่ง
ผลลัพธ์ ลิสต์ที่มีการเปลี่ยนแปลง
วันศุกร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554
สรุปบทเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ครั้งที่ 3 วันที 27 มิถุนายน 2554
Array and Record
Array
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บที่มีขนาดเท่ากัน เรียงต่อเนื่องในหน่วยความจำหลัก
การกำหนด Array จะต้องกำหนดชื่่ออะเรย์ พร้อม subscript ซึ่ง subscript จะเป็น ตัวบอกมิติ
ของอะเรย์นั้น อะเรย์ที่มี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของ subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง (lower bound)
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound)
อะเรย์ 1 มิติ
รูปแบบ data-type array-name[expression]
data-type คือ ประเภทของข้อมูลอะเรย์ เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของอะเรย์
ตัวอย่าง char a[4]; int num[10];
การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน
สามารถกำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ส่งให้กับฟังก์ชันได้ 2 ลักษณะ
1. การกำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ subscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชันทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscript
อะเรย์ 2 มิติ
รูปแบบ type array-name[n] [m];
type หมายถึง ชนิดของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
array-name หมายถึง ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
n หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของแถว
m หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของคอลัมน์
Record or Structure
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกัน รวมเป็น 1 ชุดข้อมูล คือ จะประกอบด้วย data element หรือ field ต่างประเภทกันอยู่รวมกัน ในภาษา C ก็คือการกำหนดข้อมูลเป็นรูปแบบของ Structure คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ โดยที่ใน structure
อาจมีสมาชิกเป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์หรือพอยเตอร์ หรือแม้แต่ structure ด้วยกันก็ได้
Set and String
Array
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า Linear List มีลักษณะคล้ายเซ็ตในคณิตศาสตร์ คือ อะเรย์จะประกอบด้วยสมาชิกที่มีจำนวนคงที่ มีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน สมาชิกแต่ละตัวใช้เนื้อที่จัดเก็บที่มีขนาดเท่ากัน เรียงต่อเนื่องในหน่วยความจำหลัก
การกำหนด Array จะต้องกำหนดชื่่ออะเรย์ พร้อม subscript ซึ่ง subscript จะเป็น ตัวบอกมิติ
ของอะเรย์นั้น อะเรย์ที่มี subscript มากกว่า 1 ตัวขึ้นไป จะเรียกว่า อะเรย์หลายมิติ ข้อกำหนดของการกำหนดค่าต่ำสุดและค่าสูงสุดของ subscript คือ
1. ค่าต่ำสุดต้องมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับค่าสูงสุดเสมอ
2. ค่าต่ำสุด เรียกว่า ขอบเขตล่าง (lower bound)
3. ค่าสูงสุด เรียกว่า ขอบเขตบน (upper bound)
อะเรย์ 1 มิติ
รูปแบบ data-type array-name[expression]
data-type คือ ประเภทของข้อมูลอะเรย์ เช่น int char float
array-name คือ ชื่อของอะเรย์
expression คือ นิพจน์จำนวนเต็มซึ่งระบุจำนวนสมาชิกของอะเรย์
ตัวอย่าง char a[4]; int num[10];
การส่งอะเรย์ให้ฟังก์ชัน
สามารถกำหนดอะเรย์เป็นพารามิเตอร์ส่งให้กับฟังก์ชันได้ 2 ลักษณะ
1. การกำหนด array element เป็นพารามิเตอร์ส่งค่าให้กับฟังก์ชัน ทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์พร้อมระบุ subscript
2. ส่งอะเรย์ทั้งชุดให้ฟังก์ชันทำได้โดยอ้างถึงชื่ออะเรย์โดยไม่มี subscript
อะเรย์ 2 มิติ
รูปแบบ type array-name[n] [m];
type หมายถึง ชนิดของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
array-name หมายถึง ชื่อของตัวแปรที่ต้องการประกาศเป็นอะเรย์
n หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของแถว
m หมายถึง ตัวเลขที่แสดงตำแหน่งของคอลัมน์
Record or Structure
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ประกอบขึ้นมาจากข้อมูลพื้นฐานต่างประเภทกัน รวมเป็น 1 ชุดข้อมูล คือ จะประกอบด้วย data element หรือ field ต่างประเภทกันอยู่รวมกัน ในภาษา C ก็คือการกำหนดข้อมูลเป็นรูปแบบของ Structure คือ โครงสร้างที่สมาชิกแต่ละตัวมีประเภทข้อมูลแตกต่างกันได้ โดยที่ใน structure
อาจมีสมาชิกเป็นจำนวนเต็ม ทศนิยม อักขระ อะเรย์หรือพอยเตอร์ หรือแม้แต่ structure ด้วยกันก็ได้
Set and String
วันพฤหัสบดีที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2554
สรุปบทเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ครั้งที่ 2 วันที 21 มิถุนายน 2554
ขั้นตอนวิธี (Algorithm)
ขั้นตอน คือ กระบวนการทำงาน
ขั้นตอนวิธี คือ วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ อย่างมีระบบ มีลำดับขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ สามารถเขียนได้หลายแบบ การเลือกใช้ต้องเลือกใช้ขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม กระชับและรัดกุม
คุณสมบัติ มีดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
ตัวอย่างสัญลักษณ์
ภาษาขั้นตอนวิธี (Algorithm Language) เป็นภาษาสำหรับเขียนขั้นตอนวิธี มีรูปแบบที่สั้น กระชับและรัดกุมและมีข้อกำหนด ดังต่อไปนี้
1. ตัวแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษร หรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ คือวงเล็บ, ยกกำลัง , คูณหรือหาร, บวกหรือลบเครื่องหมายระดับความสำคัญเท่ากัน คำนวณจากซ้ายไปขวา
นิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ คือ
= เท่ากับ #ไม่เท่ากับ < น้อยกว่า > มากกว่า ≤ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ≥ มากกว่าหรือเท่ากับ
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือ goto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
else statement 2
6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้
while (condition) do
statement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ
for a=b to n by c do
statement
7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /
คำถาม ทำไมการเขียนผังงานจึงต้องมีการเขียนภาษาขั้นตอนวิธีและภาษาเขียน
ขั้นตอน คือ กระบวนการทำงาน
ขั้นตอนวิธี คือ วิธีการแก้ปัญหาต่างๆ อย่างมีระบบ มีลำดับขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ สามารถเขียนได้หลายแบบ การเลือกใช้ต้องเลือกใช้ขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม กระชับและรัดกุม
คุณสมบัติ มีดังนี้
1. มีความถูกต้อง
2. ใช้เวลาในการปฏิบัติงานน้อยที่สุด
3. สั้น กระชับ มีเฉพาะขั้นตอนที่จำเป็นเท่านั้น
4. ใช้หน่วยความจำน้อยที่สุด
5. มีความยืดหยุ่นในการใช้งาน
6. ใช้เวลาในการพัฒนาน้อยที่สุด
7. ง่ายต่อการทำความเข้าใจ
ตัวอย่างสัญลักษณ์
ภาษาขั้นตอนวิธี (Algorithm Language) เป็นภาษาสำหรับเขียนขั้นตอนวิธี มีรูปแบบที่สั้น กระชับและรัดกุมและมีข้อกำหนด ดังต่อไปนี้
1. ตัวแปรจะต้องเขียนแทนด้วยตัวอักษร หรือตัวอักษรผสมตัวเลข
2. การกำหนดค่าให้ตัวแปร ใช้เครื่องหมาย
3. นิพจน์ที่เป็นการคำนวณจะมีลำดับขั้นของการคำนวณตามลำดับ คือวงเล็บ, ยกกำลัง , คูณหรือหาร, บวกหรือลบเครื่องหมายระดับความสำคัญเท่ากัน คำนวณจากซ้ายไปขวา
นิพจน์ที่เป็นตรรกศาสตร์ จะใช้เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ คือ
= เท่ากับ #ไม่เท่ากับ < น้อยกว่า > มากกว่า ≤ น้อยกว่าหรือเท่ากับ ≥ มากกว่าหรือเท่ากับ
4. ข้อความไปยังขั้นตอน ใช้รูปแบบ คือ goto เลขที่ขั้นตอน
5. การเลือกทำตามเงื่อนไข จะต้องตรวจสอบเงื่อนไขก่อนทำงาน มีรูปแบบดังนี้
- แบบทางเลือกเดียว ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
- แบบสองทางเลือก ใช้รูปแบบ คือ
if (condition) then statement 1
else statement 2
6. การทำงานแบบซ้ำ
- แบบทดสอบเงื่อนไขที่ต้นวงรอบ มีรูปแบบ ดังนี้
while (condition) do
statement
- แบบทำซ้ำด้วยจำนวนครั้งของการทำซ้ำคงที่ มีรูปแบบ
for a=b to n by c do
statement
7. คำอธิบาย เป็นข้อความที่อธิบายรายละเอียดของขั้นตอนการทำงาน จะอยู่ในเครื่องหมาย / และ /
คำถาม ทำไมการเขียนผังงานจึงต้องมีการเขียนภาษาขั้นตอนวิธีและภาษาเขียน
วันพฤหัสบดีที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2554
สรุปบทเรียนวิชา โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ครั้งที่ 1 วันที 14 มิถุนายน 2554
โครงสร้างข้อมูล ( Data Structure )
เนื้้อหา
1. ความหมายของโครงสร้างข้อมูล
2. ประเภทของโครงสร้างข้อมูล
3. การจัดสรรหน่วยความจำหลัก
4. ขั้นตอนวิธี
Introduction
1. ความหมาย แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ
ข้อมูล ( Data ) คือ ข้อเท็จจริงต่าง ๆ เป็นตัวเลขหรือไม่ก็ได้
โครงสร้าง ( Structure ) คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
ดังนั้น โครงสร้างข้อมูล ( Data Structure ) คือ ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีอยู่ในโครงสร้าง รวมทั้งกระบวนการในการจัดการข้อมูลในโครงสร้าง เช่น การ เพิ่ม แก้ไข ลบ เป็นต้น
2. ประเภทของโครงสร้างข้อมูล ปัจจุบันแบ่งเป็น 2 ประเภท
โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน คือ
ข้อมูลเบื้องต้น
จำนวนเต็ม
จำนวนจริง
ตัวอักขระ
ข้อมูลโครงสร้าง
แถวลำดับ
ระเบียบนข้อมูล
แฟ้มข้อมูล
โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน คือ
โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น
ลิสต์
แสตก
คิว
สตริง
โครงสร้างข้อมูลแบบไม่เชิงเส้น
ทรี
กราฟ
คำถาม ปัจจุบันโครงสร้างข้อมูลถูกแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ และ โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ จึงต้องการทราบว่า โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ ประกอบด้วยอะไรบ้าง แต่ละประเภทมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
วันเสาร์ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2554
สรุปบทเรียนวิชา สำนักงานอัตโนมัติ ครั้งที่ 8 วันที 14 มกราคม 2554
ระบบฐานข้อมูล
แนวความคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความหมายของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล หมายถึง แหล่งรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ด้านใดด้านหนึ่ง
ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลประกอบด้วย
- เนื้อหาสาระของข้อมูล
- คำอธิบายข้อมูล
ป้ญหาการใช้แฟ้มข้อมูลในการจัดการข้อมูล
การดูแลข้อมูล
- Data redundancy
- Data independence
ปัญหาอื่น ๆ
- Data dispersion
- Resource utilization
ประโยชน์ของฐานข้อมูล
- ลดความซ้ำซ้อน
- ลดความขัดแย้งหรือความแตกต่างกันของข้อมูล
- การพัฒนาระบบงานใหม่ทำให้สะดวกรวดเร็ว
- การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้ง่าย
- ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น
เครื่องมือในการจัดการข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล < Database management systems : DBMS> เป็นโปรแกรมที่อำนวยความสะดวกในการจัดทำ และ การนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้งาน
โครงสร้างของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล ประกอยด้วย แฟ้มข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์กัน
โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูลแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
- โครงสร้างเชิงกายภาพ เป็นการกำหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เนื้อที่ ตำแหน่งการจัดเก็บ
- โครงสร้างเชิงตรรกะ เป็นการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล
การศึกษาเบื้องต้นเพื่อจัดทำฐานข้อมูล
- การวิเคราะห์องค์การ > ศึกษานโยบาย วัตถุประสงค์
- กำหนดปัญหาและเงื่อนไข > ศึกษาปัญหาการปฏิบัติงาน ระบบข้อมูล
- กำหนดวัตถุประสงค์
- กำหนดขอบเขต ให้ครอบคลุมงานขององค์การ
แนวความคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความหมายของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล หมายถึง แหล่งรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน ด้านใดด้านหนึ่ง
ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูลประกอบด้วย
- เนื้อหาสาระของข้อมูล
- คำอธิบายข้อมูล
ป้ญหาการใช้แฟ้มข้อมูลในการจัดการข้อมูล
การดูแลข้อมูล
- Data redundancy
- Data independence
ปัญหาอื่น ๆ
- Data dispersion
- Resource utilization
ประโยชน์ของฐานข้อมูล
- ลดความซ้ำซ้อน
- ลดความขัดแย้งหรือความแตกต่างกันของข้อมูล
- การพัฒนาระบบงานใหม่ทำให้สะดวกรวดเร็ว
- การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้ง่าย
- ทำให้ข้อมูลมีความถูกต้องมากขึ้น
เครื่องมือในการจัดการข้อมูล
ระบบจัดการฐานข้อมูล < Database management systems : DBMS> เป็นโปรแกรมที่อำนวยความสะดวกในการจัดทำ และ การนำข้อมูลจากฐานข้อมูลมาใช้งาน
โครงสร้างของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล ประกอยด้วย แฟ้มข้อมูลมากกว่า 1 แฟ้มขึ้นไปที่มีความสัมพันธ์กัน
โครงสร้างข้อมูลในฐานข้อมูลแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
- โครงสร้างเชิงกายภาพ เป็นการกำหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูลในสื่อต่าง ๆ เช่น เนื้อที่ ตำแหน่งการจัดเก็บ
- โครงสร้างเชิงตรรกะ เป็นการกำหนดรูปแบบและความสัมพันธ์ของฐานข้อมูล
การศึกษาเบื้องต้นเพื่อจัดทำฐานข้อมูล
- การวิเคราะห์องค์การ > ศึกษานโยบาย วัตถุประสงค์
- กำหนดปัญหาและเงื่อนไข > ศึกษาปัญหาการปฏิบัติงาน ระบบข้อมูล
- กำหนดวัตถุประสงค์
- กำหนดขอบเขต ให้ครอบคลุมงานขององค์การ
วันศุกร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2554
สรุปบทเรียนวิชา สำนักงานอัตโนมัติ ครั้งที่ 7 วันที 28 มกราคม 2553
การจัดการฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
- แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลในสำนักงาน
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
- ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงซึ่งเกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ ข้อมูลอาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ เสียง ข้อมูลจะเกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระเบียบ
- สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาประมวลผลเพื่อใช้ประโยชน์ ในการปฎิบัติงานหรือตัดสินใจ เพื่อสนับสนุนในงานที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของข้อมูลในสำนักงาน
- ตามลักษณะของข้อมูล
Numeric Data
Character Data/Text
Voice
Graphical Data
Image Data
- ตามการคำนวณในคอมพิวเตอร์
- การจัดการข้อมูลในสำนักงาน
ความจำเป็นของการจัดการข้อมูลในสำนักงาน
- data volume
- data sharing
- data accuracy
- data integrity
- data security
- วิธีใช้ในการจัดการข้อมูล
ความหมายของแฟ้มข้อมูล
- แฟ้มข้อมูล (file / folder) คือ การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในที่เดียวกันในหน้วยความจำสำรอง เช่น ในฮาร์ดดิสก์ ดิสเกดด์ เป็นต้น
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูล
- แบบเขตข้อมูลและระเบียนข้อมูล
เขตข้อมูล (field) ประกอบด้วย ตัวเลขหรือตัวอักษรหลายๆ ตัว ที่มีคุณลักษณะเดียวกัน
ระเบียนข้อมูล (record) ประกอบด้วย เขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลรวมกัน
แฟ้มข้อมูล (file) ประกอบด้วย ระเบียนข้อมูลหลายๆ ระเบียนรวมกัน
- แบบลิสต์ (list) และอะเรย์ (array)
แบบลิสต์ (list) คือ การกำหนดรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบต่อเนื่องกัน ซึ่งคั่นด้วยอักขระพิเศษ เช่น , เป็นต้น
อะเรย์ (array) คือ การกำหนดค่าเป็นตาราง หรือ แมทริกซ์ ซึ่งแต่ละตำแหน่งแทนความหมายแต่ละเรื่อง
- แบบออบเจ็กต์
ตามลักษณะข้อมูลที่จัดเก็บ
- แฟ้มข้อมูลโปรแกรม (Program file)
- แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูล (Data file)
ระบบฐานข้อมูล
- แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความหมายของฐานข้อมูล
- ฐานข้อมูล หมายถึง แหล่งรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันในด้านใดด้านหนึ่ง
- ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูล ประกอบด้วย
- เนื้อหาสาระของข้อมูล คือ ข้อมูลในเรื่องต่างๆ ที่ต้องการ
- คำอธิบายข้อมูล
- แนวทางการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
- ตัวอย่างการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
ระบบความปลอดภัยของข้อมูลในสำนักงาน
- แนวคิดด้านความปลอดภัยของข้อมูล
- ไวรัสคอมพิวเตอร์
- การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
- แนวคิดเกี่ยวกับข้อมูลในสำนักงาน
ความหมายของข้อมูลและสารสนเทศ
- ข้อมูล หมายถึง ข้อเท็จจริงซึ่งเกี่ยวข้องกับบุคคล สถานที่ สิ่งของ หรือเหตุการณ์ ข้อมูลอาจเป็นได้ทั้งตัวเลข ตัวอักษร ข้อความ เสียง ข้อมูลจะเกิดขึ้นอย่างไม่เป็นระเบียบ
- สารสนเทศ หมายถึง ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาประมวลผลเพื่อใช้ประโยชน์ ในการปฎิบัติงานหรือตัดสินใจ เพื่อสนับสนุนในงานที่เกี่ยวข้อง
ประเภทของข้อมูลในสำนักงาน
- ตามลักษณะของข้อมูล
Numeric Data
Character Data/Text
Voice
Graphical Data
Image Data
- ตามการคำนวณในคอมพิวเตอร์
Numeric Data
Non - numeric Data
- ตามแหล่งที่มาของข้อมูล
ภายในองค์กร
ภายนอกองค์กร
- ตามหมวดหมู่เอกสารของสำนักงาน
- ตามคุณสมบัติของจ้อมูล
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
ความสำคัญของข้อมูลต่อสำนักงาน
- การจัดการข้อมูลในสำนักงาน
ความจำเป็นของการจัดการข้อมูลในสำนักงาน
- data volume
- data sharing
- data accuracy
- data integrity
- data security
- วิธีใช้ในการจัดการข้อมูล
ความหมายของแฟ้มข้อมูล
- แฟ้มข้อมูล (file / folder) คือ การจัดเก็บรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการบันทึกข้อมูลเก็บไว้ในที่เดียวกันในหน้วยความจำสำรอง เช่น ในฮาร์ดดิสก์ ดิสเกดด์ เป็นต้น
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูล
- แบบเขตข้อมูลและระเบียนข้อมูล
เขตข้อมูล (field) ประกอบด้วย ตัวเลขหรือตัวอักษรหลายๆ ตัว ที่มีคุณลักษณะเดียวกัน
ระเบียนข้อมูล (record) ประกอบด้วย เขตข้อมูลหลายๆ เขตข้อมูลรวมกัน
แฟ้มข้อมูล (file) ประกอบด้วย ระเบียนข้อมูลหลายๆ ระเบียนรวมกัน
- แบบลิสต์ (list) และอะเรย์ (array)
แบบลิสต์ (list) คือ การกำหนดรูปแบบการจัดเก็บข้อมูลแบบต่อเนื่องกัน ซึ่งคั่นด้วยอักขระพิเศษ เช่น , เป็นต้น
อะเรย์ (array) คือ การกำหนดค่าเป็นตาราง หรือ แมทริกซ์ ซึ่งแต่ละตำแหน่งแทนความหมายแต่ละเรื่อง
- แบบออบเจ็กต์
ตามลักษณะข้อมูลที่จัดเก็บ
- แฟ้มข้อมูลโปรแกรม (Program file)
- แฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูล (Data file)
ระบบฐานข้อมูล
- แนวคิดเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความหมายของฐานข้อมูล
- ฐานข้อมูล หมายถึง แหล่งรวมข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันในด้านใดด้านหนึ่ง
- ข้อมูลที่จัดเก็บในฐานข้อมูล ประกอบด้วย
- เนื้อหาสาระของข้อมูล คือ ข้อมูลในเรื่องต่างๆ ที่ต้องการ
- คำอธิบายข้อมูล
- แนวทางการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
- ตัวอย่างการพัฒนาฐานข้อมูลในสำนักงาน
ระบบความปลอดภัยของข้อมูลในสำนักงาน
- แนวคิดด้านความปลอดภัยของข้อมูล
- ไวรัสคอมพิวเตอร์
- การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล
วันเสาร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2554
การคำนวณสูตรด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
การคำนวณสูตรด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
โปรแกรม Microsoft Excel มีความสะดวกในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะการคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร จัดว่าเป็นพื้นฐานของการคำนวณอย่างยิ่ง การคำนวณผลลัพธ์ที่มีจำนวนหลายเซลล์นั้น โปรแกรม Microsoft Excel สามารถคำนวณได้ด้วยสูตร ซึ่งมีความถูกต้องและชัดเจน
กฎเกณฑ์การคำนวณ
- ทุกครั้งที่ต้องการคำนวณจะต้องพิมพ์เครื่องเท่ากับ (=) ก่อนทุกครั้ง
- เมื่อกำหนดสูตรการคำนวณเรียบร้อยแล้วให้กดแป้น Enter
Sum การคำนวณหาค่าผลรวม
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ =สูตร(เซลล์ต้นทาง:เซลล์ปลายทาง) เช่น
average การคำนวณหาค่าเฉลี่ย
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
COUNT ใช้ในการนับจำนวนที่ระบุ
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
MAX หาค่าที่สูงสุดในกลุ่มของตัวเลข
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
MIN หาค่าที่ต่ำสุดในกลุ่มของตัวเลข
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
IF ใช้ทดสอบเงื่อนไข
รูปแบบการใช้ฟังก์ชั่นในการคำนวณ =IF(อ้างอิงเซลล์/เครื่องหมายอ้างอิง/ขอบเขตที่1,“ผลลัพธ์”, IF(อ้างอิงเซลล์/เครื่องหมายอ้างอิง/ขอบเขตที่2,“ผลลัพธ์”, IF(อ้างอิงเซลล์/เครื่องหมายอ้างอิง/ขอบเขตที่3,“ผลลัพธ์”,....., IF(อ้างอิงเซลล์/เครื่องหมายอ้างอิง/ขอบเขตที่n,“ผลลัพธ์”, “ผลลัพธ์ที่ไม่อยู่ในขอบเขต”)))...)n กดแป้น Enter
หมายเหตุ n แทน ขอบเขตสุดท้ายที่ต้องการค้นหา
โดย logical_test คือ เงื่อนไขที่จะทำการตรวจสอบ value_if_true คือ สิ่งที่จะกระทำ หรือ ผลที่จะ
เกิด เมื่อเงื่อนไขที่ตรวจสอบเป็นจริง
value_if_false คือ สิ่งที่จะกระทำ หรือ ผลที่
จะเกิด เมื่อเงื่อนไขที่ตรวจสอบเป็นเท็จ
COUNTIF การนับจำนวนเซลล์ภายในช่วงให้ตรงตามเงื่อนไข
รูปแบบการใช้ฟังก์ชั่นในการคำนวณ =COUNIF(อ้างอิงเซลล์ต้นทาง:อ้างอิงเซลล์ต้นปลายทาง,“ผลลัพธ์ที่ต้องการหา”)
COUNTA ใช้นับจำนวนเซลล์ที่ไม่ใช่เซลล์ว่าง
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
SUMIF หาค่าผลรวมตามเงื่อนไข
รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ
ฟังก์ชันค้นหาและอ้างอิง
ฟังก์ชัน Hlookup เป็นวิธีการค้นหาค่าในแถวบนสุดของตารางหรือ อาร์เรย์ของค่า และส่งกลับในคอลัมน์เดียวกันจากแถวที่ระบุ
HLOOKUP(lookup_value,table_array,row_index_num,…)
lookup_value คือ ค่าที่เป็นที่จะค้นหาในตารางข้อมูล โดยค่านี้ จะเป็นค่า หรือ การอ้างอิง หรือ ข้อความก็ได้ โดยจะไปค้นจากแถวแรกของ table_array
table_array คือตารางข้อมูล หรือ ฐานข้อมูล ที่จะเข้าไปค้นหา โดยมีการเก็บข้อมูลในแนวนอน
row_index_num คือหมายเลขของแถว ในตารางtable_array ที่ต้องการค่าในแถวนี้ส่งกลับมาเป็นผลลัพธ์ของการทำงานของฟังก์ชัน
range_lookup คือ ค่าทางตรรกะ ซึ่งมี 2 ค่า True กับ False ถ้าเป็น True หรือ อาจละไว้ไม่ใส่
เมื่อฟังก์ชันทำงานจะส่งค่าที่อยู่ในแถว ที่กำหนดในสดมภ์เดียวกับค่าที่ใช้ค้นหา หรือค่าที่ใกล้เคียงที่สุดกลับมา แต่ถ้า range_lookup เป็น False จะส่งเฉพาะค่าในแถวที่ระบุ และอยู่ในสดมภ์เดียวกับค่าที่ค้นหามาให้ ถ้าไม่มีจะรายงานความผิดพลาดว่า #N/A ถ้า range_lookup เป็น true ค่าที่อยู่ในแถวแรก ของ table_array จะต้องเรียงจากน้อยไปมาก แต่ถ้าเป็น false ไม่จำเป็นต้องเรียง
ฟังก์ชั่น VLOOKUP สำหรับการค้นหาข้อมูลในคอลัมน์ที่กำหนด
lookup_value คือ ค่าที่จะค้นหาจากสดมภ์แรกของตารางหรือฐานข้อมูลที่ระบุ ซึ่งอาจเป็นค่า เป็นการอ้างอิง หรือข้อความใด ๆ
table_array คือ ตารางหรือฐานข้อมูลที่จะถูกค้นหาค่าที่ต้องการ ซึ่งตารางหรือฐานข้อมูลนี้เก็บข้อมูลในแนวสดมภ์ หรือแถวตั้ง
col_index_num คือ หมายเลขสดมภ์ของตารางข้อมูลที่ระบุให้นำข้อมูลในสดมภ์นี้ส่งกลับไปยังตำแหน่งที่ตั้งของสูตร ที่ใช้ฟังก์ชัน Vlookup โดยสดมภ์นี้จะอยู่ในแถวเดียวกับค่าที่ถูกค้นหา โดยหมายเลขสดมภ์จะนับจากซ้ายไปขวาของตารางข้อมูล
range_lookup คือ ค่าตรรกะที่ระบุให้ฟังก์ชัน มี 2 ค่า คือ True ซึ่งอาจละไว้ไม่ใส่ กับ False โดยถ้าใช้ True หรือละไว้ไม่ใส่ จะส่งค่าที่ตรงกับค่าที่ค้นหา ถ้าไม่พบจะส่งค่าที่ตรงกับค่าใกล้เคียงที่สุดไปให้ โดยตารางข้อมูลค่าในสดมภ์ที่ค้นหา ต้องเรียงจากน้อยไปมาก หากระบุ ramge_lookup เป็น False จะค้นหาและส่งค่าที่ตรงกับของค่าที่ค้นหาเท่านั้น หากไม่พบจะแสดงความผิดพลาดว่า #N/A มาให้
ทำความรู้จัก Function LEFT,MID, RIGHT
Function?LEFT, MID, RIGHT?ทั้ง 3 คำสั่งนี้ ใช้สำหรับการดึงข้อมูลบางส่วนจากเซลล์ที่กำหนดมาแสดงในเซลล์ที่เราต้องการ? เป็นการแนะนำทั้ง?3 ฟังก์ชั่นที่ใกล้เคียงและมีความสัมพันธ์กัน?ทั้งนี้?เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างที่ชัดเจนในแต่ละฟังก์ชั่น
รูปแบบ LEFT(text,num_chars)
· text?หมายถึง เซลล์ที่ต้องการดึงข้อมูล
· num_chars หมายถึง จำนวนตัวอักษรที่ต้องการดึงโดยเริ่มต้นนับจากตัวอักษรทางซ้ายมือ
รูปแบบ MID(text,start_num,num_chars)
· text?หมายถึง เซลล์ที่ต้องการดึงข้อมูล
· start_num หมายถึง ตำแหน่งของตัวอักษรแรกที่ต้องการดึงมาแสดง
· num_chars หมายถึง จำนวนตัวอักษรที่ต้องการดึงมาแสดง
รูปแบบ RIGHT(text,num_chars)
· text?หมายถึง เซลล์ที่ต้องการดึงข้อมูล
· num_chars หมายถึง จำนวนตัวอักษรที่ต้องการดึงโดยเริ่มต้นนับจากตัวอักษรทางขวามือ
ฟังก์ชัน PMT
ฟังก์ชัน PMT ใช้ในการคำนวณหายอดชำระเงินกู้ในแต่ละงวด ซึ่งวิธีนี้สามารถกำหนดจำนวนงวดที่จะต้องจ่าย
โดยฟังก์ชัน PMT จะคำนวณจำนวนเงินที่จะต้องจ่ายในแต่ละงวดให้
โดยฟังก์ชัน PMT จะคำนวณจำนวนเงินที่จะต้องจ่ายในแต่ละงวดให้
ตัวอย่างการใช้ฟังก์ชัน PMT
ถ้ากู้เงินจากธนาครมาเพื่อลงทุนค้าขายจำนวน 300,000 บาท กำหนดผ่อนชำระคืนภายในกำหนด 7 ปี ซึ่งทางธนาครคิดดอกเบี้ยร้อยล่ะ 5 ต่อปี จะต้องผ่อนชำระเดือนล่ะเท่าไร
ถ้ากู้เงินจากธนาครมาเพื่อลงทุนค้าขายจำนวน 300,000 บาท กำหนดผ่อนชำระคืนภายในกำหนด 7 ปี ซึ่งทางธนาครคิดดอกเบี้ยร้อยล่ะ 5 ต่อปี จะต้องผ่อนชำระเดือนล่ะเท่าไร
ฟังก์ชัน FV
ฟังก์ชัน FV ใช้ในการคำนวณหามูลค่าเงินในอนาคต (Future Value) เช่น จำนวนเงินทั้งหมดที่จะได้รับจากเงินฝากประจำ หรือการลงทุนอื่น ๆ เพื่อที่จะคำนวณถึงผลตอบแทนที่จะได้รับจากเงินฝากประจำ หรือการลงทุนอื่น ๆ เพื่อที่จะคำนวณถึงผลตอบแทนที่จะได้รับ
ตัวอย่าง
ต้องการฝากเงินเดือนละ 2,0 00 บาท อัตราดอกเบี้ย 6.75% ต่อปีเป็นเวลา 1 ปี โดยฝากในวันแรกของทุกเดือน ให้คำนวณหาเงินสุทธิที่จะได้รับเงินในอนาคต (FV) จะได้ผลลัพธ์ดังนี้
ฟังก์ชัน NPER
ฟังก์ชัน NPER ใช้ในการคำนวณหาระยะเวลาที่เหมาะสมสำหรับการลงทุน เช่น การใช้หาจำนวนงวดเพื่อให้ได้จำนวนเงิน ฝากที่ต้องการในอนาคต ว่าจะต้องใช้ระยะเวลากี่ปี ดังนี้
ตัวอย่าง
คุณสุดสวยได้รับเงินส่วนแบ่งจากมรดก จำนวน 800,000 บาท จึงนำเงินไปฝากบัญชีประจำ 12 เดือน โดยจะฝากงวดละ 50,000 บาท เพื่อให้มีเงินเก็บในอนาคต 3,000,000 บาท (อัตราดอกเบี้ยคงที่ 12.5% ต่อปี) การคำนวณหาจำนวนงวดที่คุณสุดสวยจะต้องฝากเงิน (NPER) มีดังนี้
จากตัวอย่างจะเห็นว่าคุณสุดสวยฝากเงินปีละ 50,000 บาท สิ้นปีที่ 9 ก็จะได้รับเงินตามที่ต้องการได้ ซึ่งเป็นเงินที่ลงทุน ไปทั้งสิ้น (50,000 X 9) + 800,000 = 1,250,000 บาท
ฟังก์ชั่น IRR(values,guess) ย่อมาจาก Internal Rate of Return
–values = กระแสเงินสดจ่ายสุทธิ และกระแสเงินสดรับรายปีตลอดอายุโครงการ โดยจะต้องมีค่าลบ 1 ค่า และค่าบวกอย่างน้อย 1 ค่า
–guess = เป็นอัตราการปรับลด ถ้าไม่กำหนดโปรแกรมจะ เริ่มต้น เช่น 0.1 เท่ากับ 10เปอร์เซ็นต์ ให้ทันที
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)