( Information System Development )
การพัฒนาระบบสารสนเทศเป็นกระบวนการในการสร้างระบบสารสนเทศขึ้นมาเพื่อใช้แก้ไขปัญหา หรือสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจ
ภาพแสดงวงจรการพัฒนาระบบ ( System Development Life Cycle : SDLC )
จำไว้เสมอว่า
หาก SA (นักวิเคราะห์ระบบ) ถ้าไม่ใส่ใจในความต้องการของผู้ใช้แล้ว แต่มานั่งกำหนดระบบต่างๆ ขึ้นเอง งานที่ได้ก็จะไม่ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ ทำให้เสียเวลาในการพัฒนาระบบขึ้นมาใหม่
ระยะเวลาของการพัฒนาระบบ
ระยะที่ 1 : Project Planning Phase
- เป็นกระบวนการพื้นฐานบนความเข้าใจอย่างถ่องแท้ว่า ทำไม (Why) ต้องสร้างระบบใหม่
- ทีมงานต้องพิจารณาว่าต้องดำเนินการต่อไปอย่างไรเกี่ยวกับกระบวนการสร้างระบบใหม่
- จุดกำเนินของงาน เกิดขึ้นมาจากผู้ใช้ระบบ (User)
- เนื่องจาก User
- เป็นผู้ที่คลุกคลีและปฏิบัติกับระบบโดยตรง มีความใกล้ชิดกับระบบงานที่ดำเนินอยู่มากที่สุด
- เมื่อ User มีความต้องการที่จะปรับปรุงระบบงานจึงถือเป็นจุดกำเนิดของ SA
- ทีมงานต้องพิจารณาว่าต้องดำเนินการต่อไปอย่างไรเกี่ยวกับกระบวนการสร้างระบบใหม่
- จุดกำเนินของงาน เกิดขึ้นมาจากผู้ใช้ระบบ (User)
- เนื่องจาก User
- เป็นผู้ที่คลุกคลีและปฏิบัติกับระบบโดยตรง มีความใกล้ชิดกับระบบงานที่ดำเนินอยู่มากที่สุด
- เมื่อ User มีความต้องการที่จะปรับปรุงระบบงานจึงถือเป็นจุดกำเนิดของ SA
หน้าที่ของ SA ในระยะที่ 1
- ต้องทำการศึกษาถึงขอบเขตปัญหาที่ผู้ใช้กำลังประสบ
- จะดำเนินการแก้ไขอย่างไร
- ระบบใหม่ที่จะพัฒนาขึ้นมานั้นมีความเป็นไปได้หรือไม่
- มีความคุ้มค่าที่จะลงทุนหรือไม่
*** ระยะที่ 1 เป็นระยะที่มีเวลาค่อนข้างสั้นและจำกัด เป็นระยะเวลาที่มีความสำคัญมากที่สุด
SA ต้องมีความเข้าใจในปัญหาอย่างแท้จริง ไม่อย่างนั้นจะ
- ไม่สามารถตอบสนองผู้ใช้งานได้จริง
- สูญเสียเวลาและเงินทอง
- สูญเสียโอกาส
- สูญเสียเวลาและเงินทอง
- สูญเสียโอกาส
สรุึประยะของการวางแผนโครงการ
- กำหนดปัญหา
- ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
- จัดทำตารางกำหนดเวลาของโครงการ
- จัดตั้งทีมงานของโครงการ
- ดำเนินการโครงการ
- ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
- จัดทำตารางกำหนดเวลาของโครงการ
- จัดตั้งทีมงานของโครงการ
- ดำเนินการโครงการ
ระยะที่ 2 : Analysis Phase
- ต้องมีคำตอบเกี่ยวกับคำถามว่าใคร (Who) เป็นผู้ที่ใช้ระบบ
- มีอะไรบ้างที่ระบบต้องทำ (What)
- มีอะไรบ้างที่ระบบต้องทำ (What)
หน้าที่ของ SA ในระยะที่ 2 (ครั้งที่ 1)
- ต้องดำเนินการในขั้นตอนของการวิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน (Current System) เพื่อนำมาพัฒนาแนวความคิดสำหรับระบบงานใหม่ (New System)
วัตถุประสงค์หลักของระยะการวิเคราะห์ระบบ คือ
- ศึกษาและทำความเข้าใจในความต้องการต่าง ๆ ที่รวบรวมมาจาก User
- ดังนั้นการรวบรวมความต้องการ จึงจัดเป็นงานส่วนพื้นฐานของการวิเคราะห์
- ดังนั้นการรวบรวมความต้องการ จึงจัดเป็นงานส่วนพื้นฐานของการวิเคราะห์
SA สามารถรวบรวมความต้องการในด้านต่าง ๆ ได้ดังนี้
- การสัมภาษณ์
- การจัดทำแบบสอบถาม
- การอ่านเอกสารเกี่ยวกับการปฏิบัติงานของระบบงาน
- ระเบียบกฏเกณฑ์ของบริษัท
หน้าที่ของ SA ในระยะที่ 2 (ครั้งที่ 2)
- นำข้อกำหนด (Requirement Specification) เหล่านั้นไปพัฒนาออกมาเป็นความต้องการของระบบงานใหม่โดยใช้เทคนิค
- การพัฒนาแบบจำลองกระบวนการ (Process Model : DFD) เพื่ออธิบายถึงกระบวนการที่ต้องทำในระบบว่ามีอะไรบ้าง
- การพัฒนาแบบจำลองข้อมูล (Data Model : ERD) เพื่ออธิบายถึงสารสนเทศที่ต้องจัดเก็บไว้สำหรับสนับสนุนกระบวนการต่าง ๆ
สรุประยะของการวิเคราะห์
- วิเคราะห์ระบบงานปัจจุบัน
- รวบรวมความต้องการในด้านต่าง ๆ และนำมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อกำหนดที่ชัดเจน
- นำข้อกำหนดพัฒนาออกมาเป็นความต้องการของระบบงานใหม่
- สร้างแบบจำลองกระบวนการของระบบงานใหม่ DFD
- สร้างแบบจำลองข้อมูล ERD
- รวบรวมความต้องการในด้านต่าง ๆ และนำมาวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อกำหนดที่ชัดเจน
- นำข้อกำหนดพัฒนาออกมาเป็นความต้องการของระบบงานใหม่
- สร้างแบบจำลองกระบวนการของระบบงานใหม่ DFD
- สร้างแบบจำลองข้อมูล ERD
ระยะที่ 3 : Design Phase
พิจารณาว่าระบบจะดำเนินการไปได้อย่างไร (How)
ตัดสินใจว่าจะพัฒนาระบบใหม่ด้วยแนวทางใด
ตัดสินใจว่าจะพัฒนาระบบใหม่ด้วยแนวทางใด
- พัฒนาขึ้นเอง ทำให้ได้โปรแกรมตรงตามความต้องการ แต่ถ้าผู้พัฒนาโปรแกรมมีความรู้ความสามารถไม่เพียงพอ ก็ต้องจัดให้มีการอบรม เรียนรู้เพิ่มเติม ทำให้เสียเวลา
- ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป ได้โปรแกรมมาใช้ได้เลยทันที แต่อาจจะไม่ตรงตามความต้องการขององค์กร
- ว่าจ้างบริษัทพัฒนาระบบ (Software House) อาจจะเกิดการต่อต้านจากบุคลากร มีราคาแพง หากบริษัทรับจ้างขาดจรรยาบรรณ ข้อมูลขององค์กรอาจรั่วไหล
- ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป ได้โปรแกรมมาใช้ได้เลยทันที แต่อาจจะไม่ตรงตามความต้องการขององค์กร
- ว่าจ้างบริษัทพัฒนาระบบ (Software House) อาจจะเกิดการต่อต้านจากบุคลากร มีราคาแพง หากบริษัทรับจ้างขาดจรรยาบรรณ ข้อมูลขององค์กรอาจรั่วไหล
การออกแบบจะข้องเกี่ยวกับ
- การออกแบบทางสถาปัตยกรรม (Architecture Design)
- Hardware
- Hardware
- Software
- Networking
- การออกแบบรายงาน (Output Design)
- การออกแบบจอภาพเพื่อปฏิสัมพันธ์ (User Interface)
- ฐานข้อมูล (Database)
- การออกแบบจอภาพเพื่อปฏิสัมพันธ์ (User Interface)
- ฐานข้อมูล (Database)
สรุประยะของการออกแบบ
- พิจารณาแนวทางในการพัฒนาระบบ
- ออกแบบสถาปัีตยกรรมระบบ
- ออกแบบฐานข้อมูล
- ออกแบบ Output
- ออกแบบ User Interface
- จัดทำต้นแบ ตุ๊กตา (Prototype)
- ออกแบบโปรแกรม
- ออกแบบสถาปัีตยกรรมระบบ
- ออกแบบฐานข้อมูล
- ออกแบบ Output
- ออกแบบ User Interface
- จัดทำต้นแบ ตุ๊กตา (Prototype)
- ออกแบบโปรแกรม
ระยะที่ 4 : Implementation Phase
- ระบบเกิดผลขึ้นมาด้วยการ
- ระบบเกิดผลขึ้นมาด้วยการ
- การสร้างระบบ
- การทดสอบระบบ
- การติดตั้งระบบ
วัตถุประสงค์หลักของระยะที่ 4
- ระบบมีความน่าเชื่อถือ มีประสิทธิภาพ
- ระบบสามารถทำงานได้ดีตรงตามความต้องการ
- User ต้องได้รับการฝึกอบรมการใช้ระบบ
- ผลตอบแทนทางกำไรขององค์กรในทางที่ดีขึ้น
- ระบบสามารถทำงานได้ดีตรงตามความต้องการ
- User ต้องได้รับการฝึกอบรมการใช้ระบบ
- ผลตอบแทนทางกำไรขององค์กรในทางที่ดีขึ้น
สรุประยะของการนำไปใช้
- สร้างระบบขึ้นมาด้วยการเขียนโปรแกรม
- ตรวจสอบความถูกต้องของโปรแกรม
- แปลงข้อมูล
- ติดตั้งระบบ จัดทำคู่มือ
- ฝึกอบรมผู้ใช้ และประเมินผลระบบใหม่
ระยะที่ 5 : Maintenance Phase
ระยะนี้ถือเป็นระยะเวลาที่ยาวนานที่สุด โดยเริ่มตั้งแต่ ระบบได้มีการติดตั้งเพื่อใช้งานแล้ว
สรุประยะของการบำรุงรักษา
- การบำรุงรักษาระบบ
- การเพิ่มเติมคุณสมบัติใหม่ ๆ เข้าไปในระบบ
- การสนับสนุนงานของผู้ใช้
System Development Methodology
Model
- Flowchart
- Data Flow Diagram
- Entities Relationship Diagram
- Gantt / PERT Chart
- Data Flow Diagram
- Entities Relationship Diagram
- Gantt / PERT Chart
Tool
- โปรแกรมจัดการโครงการ
- โปรแกรม / เครื่องมือช่วยวาด
- โปรแกรมประมวลผลคำ
- โปรแกรมจัดการฐานข้อมูล
Techniques
- เทคนิคการสัมภาษณ์
- เทคนิคการสร้างแบบจำลองข้อมูล
- เทคนิคการวิเคราะห์ิเชิงโครงสร้าง
- เทคนิคการออกแบบเชิงโครงสร้าง